วันพุธที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4
ประจำวันศุกร์ที่ 28 มกราคม 2558

ความรู้ที่ได้รับจากการเรียน

 คุณลักษณะตามวัยของเด็กหรือคุณลักษณะตามธรรมชาติ

1 พฤติกรรมทางด้านร่างกาย
พฤติกรรมทางด้านอารมณ์ จิตใจ
3 พฤติกรรมทางด้านสังคม
พฤติกรรมทางด้านสติปัญญา

ทฤษฎีเพียเจต์กับความรู้ทางคณิตศาสตร์
          ความรู้ทางด้านศักยภาพ
   -การใช้ประสาทสัมผัสเป็นความรู้ภายนอก >> การปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมโดยตรง
          ควมรู้ทางเหตุผลด้านคณิตศาสตร์
  -เกิดขึ้นภายในที่เกิดจากกาารเชื่อมโยง+ทฤษฎี โดยการเลือกลงมือกระทำที่เป็นผลสะท้อน
***ควมรู้ทางเหตุผลด้านคณิตศาสตร์ จะเกิดขึ้นหลังจากเด็กลงมือกระทำ + เชื่อมโยงข้อเท็จจริง

จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
-ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ >> รู้จักคำศัพท์ทางคณิตศาสตร์
-มโนภาพเกี่ยวกับคณิตศาสตร์  >> การบวก การลบ
-รู้จักกระบวนนการการหาคำตอบ
-ฝึกฝนคณิตพื้นฐาน
-มีความรู้ความเข้าใจ
-ส่งเสริมให้เด็กค้นคว้าหาาคำตอบด้วยตัวเอง
 
    ทักษะพื้นฐานทางคณิตศสตร์
1 สังเเกตุ Observation
    - ประสาทสัมผัสทั้งห้า
    - มีปฏิสัมพันธ์โดยตรงอย่างมีจุดมุ่หมาย

2 การจำแนกประเภท Lassifying
    - การแบ่งประเภทสิ่งโดยหาเกณฑ์
    - เกณฑ์การจำแนก

3 การเปรียบเทียบ Comparing
    - อาศัยความสัมพันธ์ของวัตถุตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไป
    - มีความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของสิ่งนั้นๆและรู้จักคำศัพท์คณิตศาสตร์มี่ต้องใช้

4 การจัดลำดับ Ordering
    - การเปรียบเทียบขั้นสูง
    - การจัดลำดับเหตุการณ์

5 การวัด Measurement
    - มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการอนุรักษ์
    - การวัดสำหรับเด็ก เช่น เวลา ระยะทาง ความยาว น้ำหนัก
6 การนับ Counting
    - ท่องจำไม่เข้าใจความหมาย
    - ท่องแบบมีความหมายเชื่อมโยงกับจุดประสงค์บางอย่าง

7 รูปทรงและขนาด Sharp and Size
    - เด็กกส่วนใหญ่จะมีความรู้เกี่ยวกับรูปทรงและขนาดก่อนเข้าโรงเรียน เพราะเป็นประสบการณ์ที่อยู่รอบๆตัวเด็ก
       คำศัพท์เกี่ยวกับคณิตศาสตร์
ตัวเลข   -     มาก น้อย ไม่มี ทั้งหมด
ขนาด    -     ใหญ่ คล้าย สูง เตี้ย
รูปร่าง   -      สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม วงกลม ยาว โค้ง
ที่ตั้ง      -     บน ต่ำ ขวา สูงที่สุด ยอด
ค่าของเงิน     -    สลึง หนึ่งบาท ห้าบาท
ความเร็ว        -    เร็ว ช้า เดิน วิ่ง คลาน
อุณหภูมิ        -     เย็น ร้อน อุ่น เดือด

ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย 
1 การนับ
2 ตัวเลข
3 การจับคู่
4 การจัดประเภท
5 การเปรียบเทียบ
6 รูปร่างและพื้นที่
7 การวัด
8 การจัดลำดับ

หลักการสอนคณิตศาสตร์สำหรับปฐมวัย 
1 สอดคล้องกับชีวิประจำวัน การเรียนรู้เกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ้ด็กมองเห็นความจำเป็น
2 เปิดโอกาสให้ค้นพบด้วยตัวเอง
3 วางแผน
4 เอาใจใส่กับลำดับพัฒนาการ

ทักษะ
 นำเสนอโทรทัศน์ครู
นางสาวจรีพร เฉลิมจาน
สรุป
ก่อนเรียนครูจะอบอุ่นร่างกาย ให้เด็กคิดท่าทางด้วยตนเอง เช่น เครื่งหมายบวก เครื่งหมายลบ เครื่องหมายเท่ากับ ครูจะนำเพลงที่มีเนื้อหาดังกล่าวมาใช้ เมื่อเด็กได้ยินคำที่ตรงกับคำว่า บวก ลบ เท่ากับ เด็กจะทำท่าทางตาม

นางสาวกรกช เดชประเสริฐ
สรุป
เรียนรู้เกี่ยวกับตัวเลข 1-9 และ คำศัพท์ภาษาอังกฤษ เช่น one = 1 
ครูจะใช้สิ่งของที่เป็นจริงในการสอน เช่น สอนเรื่องการบวก  3+2 = ? มีส้ม 3 ผล แม่ให้อีก 2 ผล จะมีส้มทั้งหมด 5 ผล 

นางสาวปรางชมพู บุญชม
สรุป
เป็นการสอนเด็กอายุ 2-3 ปี ยังคงสอนแบบสนุก หาสื่อที่ดึงดูดความสนใจเด็ก ตัวเอย่างเช่น ครูจะสอนเรื่องเลข 3 นั้นเป็นอย่างไร นับอย่างไร ต้องมีค่าเท่าไหร่ จะใช้การปั้นดินน้ำเป็นตัวเลข ได้พัฒนาการทางด้านปัญญา สังคม สติปัญญา และ ร่างกาย

เกมทายตัวเลข
เลขอะไรไม่เข้าพวก
20 25 15 23
ตัวอย่าง  เกณฑ์ 5 หารลงตัว  ตอบ 23 ต่างจากพวก
เกณฑ์ มีเลข 2 อยู่ข้างหน้า ตอบ 15
** มีความเป็นไปได้ทุกตัว เนื่องด้วยเกณฑ์ที่ต่างกัน **

โจทย์คือ
ครูตั้งคำถาม
48 หาร 2 = ?
12 คูณ 2 = ?
วันหนึ่งมีกี่ชั่วโมง ?
คำตอบ คือ 24 
>>>เราสามารถตั้งคำถามได้มากมาย คิดออกมาได้เรื่อยๆ คำตอบคือ โจทย์ นั่นเอง

เพลง สวัสดียามเช้า
ตื่นเช้าแปรงฟันล้างหน้า  อาบน้ำการแต่งตัว 
กินอาหารดีมีทั่ว  หนูเตรียมตัวจะไปโรงเรียน  
หลั่นล้า  หลั่นล้า  หลั่นล่า  ลันลา 
หลั่นลา  หลั่นล้า


กิจกรรม ใครมาถึงมหาวิทยาลัยเวลาใด
ทำป้ายชื่อ แล้วนำไปติดตามเวลาที่ตนเองมาถึงมหาวิทยาลัย
เกณฑ์ในการแบ่ง คือ เวลาเที่ยง



วิธีการสอน
  ทำแบบทดสอบก่อนเรียนเป็นการทบทวนความรู้และประสบการณ์ของผู้เรียน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ถามตอบ โต้แย้งความเห็นของแต่ละคน
  นำเสนอผ่านโปรแกรมMicrosoft Office Power Point  เน้นการมีส่วนร่วมของผู้เรียน 

ประเมินสภาพในห้องเรียน

จัดเก้าอี้เป็นรูปครึ่งวงกลม รูปแบบการนั่งเรียนเน้นให้ผู้เรียนได้มองเห็นผู้สอนอย่างทั่วถึง และ ผู้สอนก็สามารถมองเห็นผู้เรียนได้อย่างทั่วถึง ภายในห้องเรียนมีความเย็นจึงเป็นอุปสรรคในการเรียนรู้

ประเมิน
  ตนเอง -  เข้าเรียนตรงต่อเวลา รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย ไม่ค่อยกล้าแสดงความคิดเห็น
  เพื่อน   -  มีการให้การร่วมมือในการทำกิจกรรมต่างๆ ตอบคำถามอย่างมีเหตุมีผลเสียงดังชัดเจน ถก                เถียงข้อโต้เเย้งต่างๆ
  อาจารย์ - เข้าสอนตรงต่อเวลา การสอนใช้เสียงดังชัดเจน  อธิบายถึงเรื่องต่างๆได้อย่างเข้าใจ สอดแทรกเนื้อหาเพิ่มเติมเพื่อความเข้าใจมากยิ่งขึ้น 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น